NBT_logo.png
TH
TH
EN
  • หน้าหลัก

  • เกี่ยวกับเรา

  • ธนาคารพืช

  • ธนาคารจุลินทรีย์

  • ธนาคารข้อมูล

  • จีโนมิกส์ประเทศไทย

  • ผลงาน

  • More

    Use tab to navigate through the menu items.
    • All Posts
    • ข่าวสารและกิจกรรม
    • ธนาคารพืช
    • ธนาคารจุลินทรีย์
    • การแพทย์
    ค้นหา
    สมุนไพรในขวดแก้ว 🌱 "ผักปู่ย่า" 🌱
    • 20 ต.ค. 2564
    • 1 นาที

    สมุนไพรในขวดแก้ว 🌱 "ผักปู่ย่า" 🌱

    🌧⛈ ช่วงนี้ฝนตกหนัก ☔️💧 หญ้าก็โตไว ใครทำสวน ทำไร่ ก็ต้องมาคอยถอนหญ้า 🍃 ที่เป็นวัชพืชไม่มีประโยชน์ทิ้ง 😩 😃✨แต่วันนี้เรามีพืชที่น่าสนใจมีประโยชน์ที่ไม่ใช่ "หญ้า" แต่เป็น 🌿 ผักปู่ย่า 🌿 นั่นเองงงง 🔥🔥 🌿 ผักปู่ย่า หรือหนามปู่ย่า 🌿 แม้จะมีหนามแหลมคมไปทั้งต้นแถมมีกลิ่นคล้ายแมลงกะแท้ 🐜 แต่ชาวบ้านกลับบอกว่ามีกลิ่นหอมหวลชวนกิน 🌸🌺 ใครว่าเหม็น 😂 ชาวบ้านนิยมนำยอดมารับประทานสดกับแกงหน่อไม้ หรือถูกนำไปปรุงเป็น "ส้าผัก" ก็คือการนำผักหลาย ๆ ชนิดมายำรวมกันด้วยน้ำพริก แล้วปรุงรสด
    ดู 14 ครั้ง0 ความคิดเห็น
    'มะซาง' พืชสุดยอดแห่งนานาประโยชน์ 🌿
    • 8 ก.ย. 2564
    • 1 นาที

    'มะซาง' พืชสุดยอดแห่งนานาประโยชน์ 🌿

    🌧 วันพุธท่ามกลางช่วงพายุฝนโหมกระหน่ำไม่หยุดหย่อนแบบนี้ NBT มีพืชมาขอแนะนำให้ได้รู้จักกันอีก 1 ชนิด นั่นก็คือ.... "มะซาง" 🌿 🌳 มะซางมีประวัติการพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1867 จากการสำรวจแม่น้ำโขง (ค.ศ. 1866-1868) โดย Jean Baptiste Louis Pierre นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ผู้มีความสนใจพรรณไม้เขตร้อนวงศ์ SAPOTACEAE เป็นพิเศษ ซึ่งได้ออกเดินทางพร้อมกับคณะสำรวจอันมีเป้าหมายอยู่ที่ประเทศเวียดนาม กัมพูชา ลาว ไทย เมียนมา และจีน (ยูนาน) โดยวัตถุประสงค์ในการออกสำรวจครั้งนี้เพื่อจัดทำเอกสารทางว
    ดู 10 ครั้ง0 ความคิดเห็น
    ไม้ดอกเมืองร้อน Ep.2 "ปทุมมา"
    • 13 ส.ค. 2564
    • 1 นาที

    ไม้ดอกเมืองร้อน Ep.2 "ปทุมมา"

    หนีความน่ากลัวของวันศุกร์ที่ 13 👻 มาชมความงามของ #ไม้ดอกเมืองร้อน ที่ #ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (NBT) นำมาให้ชมกันน ✨ กับ #ปทุมมา (𝑪𝒖𝒓𝒄𝒖𝒎𝒂 𝒂𝒍𝒊𝒔𝒎𝒂𝒕𝒊𝒇𝒐𝒍𝒊𝒂 Gagnep.) 🌷 หรือ #ทิวลิปสยาม ที่ชาวต่างชาติรู้จักกัน 🧐 ใคร ๆ อาจจะคิดว่าส่วนที่เห็นสีชมพูเป็นส่วนของกลีบดอก แต่ที่จริงแล้วเป็นใบประดับ ที่พัฒนาสีสันขึ้นมาเพื่อช่วยดึงดูดแมลง 🐝🦋🐞 ส่วนดอกจริง ๆ นั้นจะอยู่ตามช่องของใบประดับแทนนะ !! 😍 ....และ.... 🌷 ดอกที่เห็นตั้งตรงขึ้นมานั้นจึงไม่ใช่ดอกเดี่ยว เพียง
    ดู 7 ครั้ง0 ความคิดเห็น
    สมุนไพรในขวดแก้ว Ep.2 ผักแพวแดง
    • 29 ก.ค. 2564
    • 1 นาที

    สมุนไพรในขวดแก้ว Ep.2 ผักแพวแดง

    🪴 เมื่อพูดถึงชื่อ ผักแพว เชื่อเลยว่าหลายคนต้องบอกว่า อ๋อออ ชั้นรู้จัก ที่ใบแหลม ๆ เอาไว้กินกับอาหารเวียดนามอย่างแหนมเนืองไงล่ะ 🌿 แต่วันนี้เราขอเสนอพืชอีกชนิดหนึ่ง นั่นคือ ผักแพวแดง (blood leaf) ที่ได้ชื่อนี้มาไม่ใช่เพราะโชคช่วย แต่แค่เห็นสีใบก็น่าจะเข้าใจได้ ว่า blood leaf มันมาจากความ #แดงแจ๋ #แดงเถือก #แดงฉาด #แดงปะหลึ้ง ของใบนั่นเอง และแน่นอนว่าความแดงนี้มันมาพร้อมกับคุณประโยชน์อีกมากมาย ทั้งใช้เป็นสมุนไพร ใช้เป็นไม้ประดับ รวมถึงมีการใช้ในพิธีกรรมไล่สิ่งชั่วร้ายออกจากร่า
    ดู 22 ครั้ง0 ความคิดเห็น
    พรรณไม้เด่นในเขตเขาหินปูน "แคสันติสุข"
    • 1 ก.ค. 2564
    • 1 นาที

    พรรณไม้เด่นในเขตเขาหินปูน "แคสันติสุข"

    🌸 หนึ่งในพรรณไม้ที่มีสีสันสะดุดตาในเขตเขาหินปูน ซึ่งเป็นพรรณไม้ถิ่นเดียวของประเทศไทย และเป็นข้อต่อห่วงโซ่ของระบบนิเวศหินปูนช่วยให้สรรพชีวิตผ่านช่วงเวลาอันร้อนแล้งในแต่ละปีไปได้ โดยเป็นทั้งที่อาศัย รวมทั้งเป็นอาหาร ในขณะเดียวกันสีสันของดอกที่มีสีชมพูอ่อนและกลิ่นหอมหวานอ่อนๆ ซึ่งพรรณไม้ชนิดนี้รู้จักกันในชื่อว่า แคผู้ หรือ แคสันติสุข ✨ 🌸 แคสันติสุข มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า 𝑺𝒂𝒏𝒕𝒊𝒔𝒖𝒌𝒊𝒂 𝒌𝒆𝒓𝒓𝒊𝒊 (Barnett & Sandwith) Brummitt ตามประวัติการตั้งชื่อทางพฤกษศาสตร์ครั้งแรกจัด
    ดู 30 ครั้ง0 ความคิดเห็น
    รู้จักกับไม้ดอกเมืองร้อน "ขิงชมพู"
    • 28 พ.ค. 2564
    • 1 นาที

    รู้จักกับไม้ดอกเมืองร้อน "ขิงชมพู"

    🪴 ธนาคารเนื้อเยื่อพืช โดยธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ ขอเสนอไม้เมืองร้อนที่มีความงดงามยามฝนพรำ ที่มีเก็บอนุรักษ์อยู่ในธนาคารของเราอีกหนึ่งชนิด นั่นคือ.... 🌷 ขิงชมพู ( 𝑨𝒍𝒑𝒊𝒏𝒊𝒂 𝒑𝒖𝒓𝒑𝒖𝒓𝒂𝒕𝒂 (Vieill.) K. Schum.) 🌷 เป็นไม้ในวงศ์ขิง (ZINGIBERACEAE) ที่น่าสนใจปลูกประดับก็ได้ นำมารับประทานก็ดี ใครมีจับจองอยู่น่าจะเริ่มเห็นดอกทยอยออกกันแล้ว ✨ 📌 ติดตามข่าวสารอัพเดทกิจกรรมต่างๆ ของธนาคารทรัพยากรชีวภาพได้ทางเพจ facebook , twitter และทาง website : www.nbt.or.th #ธนาคารพื
    ดู 23 ครั้ง0 ความคิดเห็น
    รู้จักกับ "เมล็ดสะบ้าลิง"
    • 25 พ.ค. 2564
    • 1 นาที

    รู้จักกับ "เมล็ดสะบ้าลิง"

    🌱 “แม้รูปลักษณ์ภายนอกจะดูปกติ แต่ภายในนั้นเป็นอย่างไรไม่อาจทราบได้” 🌱 🌱 ผลจากการรวบรวมพืชในวงศ์ถั่วของธนาคารเมล็ดพรรณ สังกัดธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (National Biobank of Thailand: NBT) พบว่า เมล็ดสะบ้าลิง (𝑀𝑢𝑐𝑢𝑛𝑎 𝑚𝑎𝑐𝑟𝑜𝑐𝑎𝑟𝑝𝑎 Wall.)(1)(2) ที่ภายนอกนั้นมีความสมบูรณ์เหมือนกับเมล็ดปกติทั่วไป แต่ภายในได้ถูกเจ้าด้วง 𝐶𝑎𝑟𝑦𝑜𝑝𝑒𝑚𝑜𝑛 𝑔𝑖𝑔𝑎𝑛𝑡𝑒𝑢𝑠 Pic (3) เข้าไปฝังตัวและกัดกินภายในเมล็ดจนเกลี้ยง โดยด้วงชนิดนี้จะวางไข่ไว้ในเมล็ด จากนั้นพัฒนาเป็นตัวหนอน
    ดู 18 ครั้ง0 ความคิดเห็น

    ติดต่อเรา

    ctu_TH.png
    twitter (3).png
    facebook (3).png
    email (3).png
    ส่งข้อความหาเรา

    ขอบคุณสำหรับข้อมูล!